บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2021

3 สิ่งต้องรู้ ก่อนเลือกใช้ Liquid Penetrant Testing

รูปภาพ
 หลักง่ายๆ  3 สิ่งต้องรู้ ก่อนเลือกใช้ Penetrant Testing ในงาน NDT, การตรวจสอบงานเชื่อม..ครับ ^__^ เล่าสู่กันฟังเพิ่มเติมที่.... YouTube Welding Specialist - YouTube เรื่องอัพเดจ FB https://www.facebook.com/SpeedupWeld คอร์สอบรม Online-Training (Welding and NDT) https://speedupwelding.com

เคยสงสัยว่าการเย็นตัวอะไรเร็วกว่ากันระหว่างเหล็กแผ่นหนาหรือบาง ???

รูปภาพ
 บางท่านอาจเคยสงสัยว่าการเย็นตัวอะไรเร็วกว่ากันระหว่างเหล็กแผ่นหนาหรือบาง ???....ลองดูนี้ครับ...เผื่อเป็นประโยชน์กับทุกๆท่านครับ

Ultrasonic testing level 1-2, สัญญาณฝั่งไหนมี lamination

รูปภาพ
 Ultrasonic testing level 1-2, สัญญาณฝั่งไหนมี lamination ครับ (ซ้ายหรือขวา) ?  เทคนิคที่ใช้นี้เรียกว่าอะไรกัน...😊

รอยแตก(Crack) !!!... ที่สำคัญ...เกิดข้างๆรอยเชื่อมสะงั้น....+++....ทำงัยดี++++…>_<…

รูปภาพ
  ตรวจสอบแนวเชื่อม แล้วเจอรอยแตก(Crack) !!!... ที่สำคัญ...เกิดข้างๆรอยเชื่อมสะงั้น....+++....ทำงัยดี++++…>_<… ถ้าจะเปลี่ยนลวดเชื่อมช่วยอะไรได้มั้ย…??? + 3 คำถามนี้อาจช่วยได้…. 1. ต้องรู้เค้ารู้เรา 2. ดูโหงวเฮ้งหน่อยครับ 3. หนูยังโสด...มีแฟนหรือ...แต่งงานแล้วน่ะ... + + + มีหลายๆเคสมาปรึกษางานเชื่อม Stainless แล้วมี Crack เกิดจากอะไร???....ผมเลยค้นคว้า+++วิธีการ+++จากงานวิจัยต่างๆของต่างประเทศ(ข้อมูลผ่านการทดลองพิสูจน์, Up-to-date, หากมีหลักฐานใหม่ๆ ความเข้าใจเรื่องๆนั้นเปลี่ยนแปลงได้)..... มาสรุปแบบง่ายๆ เผื่อเป็นประโยชน์นะครับ....+++++ + + + + + EP.1 + 1.อย่างแรกทำอะไร....ต้องรู้เค้ารู้เรา...(คำคุ้นๆ...ปรมาจารย์ชอบใช้ ) + + นั้นก้อคือ เรายุ่งก่ะเหล็กอะไรอยู่ครับ....ไม่ใช่รู้แค่ว่ามันคือ Stainless ต้องลึกถึงเกรดอะไรด้วย เช่น 304, 316, 310,…. X6CrNiNb18-10….SUS….แล้วแต่มาตรฐาน…ประเทศว่ากันไปครับ ++++สรุปง่ายๆ (In a nutshell)…รู้เกรดเหล็ก>>> ก้อรู้ส่วนผสมทางเคมี...>>>ก้อรู้เงื่อนงำผู้บงการ (ธาตุแต่ละตัวมีวิถีของมัน)+++++ ถ้าตรวจสอบธาตุโดยตรงด้วย PMI ได้เยี่ยมเล

เติม..ปัญญายุทธ์...“5 ไอเดีย...เพิ่มประสิทธิภาพ...งานเชื่อม....ด้วยต้นทุน...0...บาท”

รูปภาพ
  เติม..ปัญญายุทธ์...“5 ไอเดีย...เพิ่มประสิทธิภาพ...งานเชื่อม....ด้วยต้นทุน...0...บาท”…!!!...ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ ( ) + + + 1. เพิ่มขนาดลวดเชื่อม (Electrode Diameter)...ให้โตๆเข้าไว้...!!! อ้าว...แนะนำให้...ลด...แต่นี้ให้...เพิ่ม...อะไรกันอ่ะ... เข้าใจถูกแล้วครับ...เพิ่มครับเพิ่ม.....ขนาดลวดเชื่อมที่โตกว่า...เป็นการเติมเนื้อเชื่อม(Deposition Rate) ให้มากขึ้น เช่น งานรอยต่อบากร่อง (Groove Joint)...งานเสร็จเร็วขึ้น...ไปทำอย่างอื่นเร็วขึ้น… + ***ระวัง...น้ำหนักลวดเชื่อมที่ต้องซื้อในโปรเจ็ค...เท่าเดิมนะครับ..แต่เปลี่ยนขนาดลวดเชื่อมใหญ่ขึ้นแทนครับ + + + 2. ลดระยะ Fit-up หรือ Root Gap ให้เล็กลง ระยะห่างของแก๊บ (Root Gap or Root Opening) ที่เพิ่มขึ้น โดยความสามารถในการรับแรงเท่าเดิม (ระยะคอรอยเชื่อม (Throat) เท่าเดิม).....จะต้องใช้ปริมาณเนื้อเชื่อมเพิ่มขึ้น....จ้างตังค์มากขึ้น....งานเสร็จช้า....ตัวอย่างเช่น งานแนวเชื่อมฟิลเลท Fillet weld (ดูรูปล่างประกอบครับ) ดังนั้น....ลดครับลด...เท่าที่ทำได้... + + 3. ลดรอยเชื่อมนูนเกินไป (Excessive weld Reinforcement) รอยเชื่อมที่ดี.....จะต้องไม่ต่ำกว่าควา

"ผู้ตรวจสอบงานเชื่อมมืออาชีพ".....ตาม AWS-CWI....ต้องผ่านด่าน (s) อะรัยบ้าง

รูปภาพ
  ถ้าจะรักเป็น......"ผู้ตรวจสอบงานเชื่อมมืออาชีพ".....ตามมาตรฐาน AWS-CWI(Certified Welding Inspector)....ต้องผ่านด่าน (s) อะรัยบ้าง....ลองดูกันครับ...

ตารางสรุปหาค่า Heat Input ให้เข้าใจง่ายขึ้นครับ...😊

รูปภาพ
 

ระวัง...!!!...หาค่า Heat Input (ฮีตอินพุต)…AWS กับ CSWIP ใครถูกผิด...???

รูปภาพ
  ระวัง...!!!...หาค่า Heat Input (ฮีตอินพุต)…AWS กับ CSWIP ใครถูกผิด...??? . . . . Heat Input (ฮีตอินพุต) เป็นตัวแทนบอกเราว่า...ปริมาณความร้อนเข้าไปในแนวเชื่อมมาก...น้อย...เพียงใด...ซึ่งจะส่งผลต่อสมบัติของรอยเชื่อม และ HAZ เช่น ค่าความแข็ง และความต้านทานแรงดึง เป็นต้น . . . Heat input ตาม AWS (สมาคมการเชื่อมอเมริกา) ถูกใช้ในมาตรฐานอเมริกาต่างๆ เช่น AWS D 1.1, ASME Section IX, API 1104 เป็นต้น . เค้าจะคำนวณจาก . Heat input AWS = [แรงดัน (Volts) x กระแสไฟ(Amps) / ความเร็วเชื่อม] x (60/1000) หน่วยออกมาเป็น kJ/in ถ้าความเร็วเชื่อมเป็น in/min (นิ้วต่อนาที) kJ/cm ถ้าความเร็วเชื่อมเป็น cm/min (เซนติเมตรต่อนาที) kJ = kilojoules (กิโลจูล) . . . . !!!!!...ขณะที่ในฝั่งยุโรป หรือ CSWIP จะคิดตามมาตรฐาน EN 1011-1.....คือ... . . ค่า Heat input จาก AWS จะกลายเป็นค่า Arc energy (พลังงานการอาร์ค)..ไปนะครับ....คือ.... . . Arc energy (kJ/mm)= (แรงดัน (Volts)x กระแสไฟ(Amps))/(ความเร็วเชื่อม(mm/s)x1000) . . หน่วยออกมาเป็น kJ/mm เท่านั้น.... . . ไปต่อ.... . . . จะเป็นฮีตอินพุตได้.... ก้อต่อเมื่อเ